วันจันทร์ที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2553

หน่วยการเรียนรู้ที่1 เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก

คอมพิวเตอร์กราฟฟิกคอมพิวเตอร์กราฟฟิก หมายถึง การสร้าง การตกแต่งแก้ไข หรือการจัดการเกี่ยวกับรูปภาพ โดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในการจัดการ ยกตัวอย่างเช่น การทำ Image Retouching ภาพคนแก่ให้มีวัยที่เด็กขึ้น การสร้างภาพตามจินตนาการ และการใช้ภาพกราฟิกในการนำเสนอข้อมูลต่างๆ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายได้ตรงตามที่ผู้สื่อสาร ต้องการและน่าสนใจยิ่งขึ้นด้วยกราฟ แผนภูมิ แผนภาพ เป็นต้นภาพกราฟิกแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ-กราฟิกแบบ 2 มิติ เป็นภาพที่พบเห็นโดยทั่วไป เช่น ภาพถ่าย รูปวาด ภาพลายเส้น สัญลักษณ์ กราฟ รวมถึงการ์ตูนต่างๆ ในโทรทัศน์-กราฟิกแบบ 3 มิติ เป็นภาพกราฟิกที่ใช้โปรแกรมสร้างภาพ 3 มิติโดยเฉพาะ เช่น โปรแกรม 3Ds Max โปรแกรม Maya เป็นต้นดังนั้น กราฟิกแบบ 2 มิติ คือ ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้สื่อความหมายด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายข้อมูลได้ถูกต้องตรงตามที่ผู้สื่อสารต้องการ โดยมีลักษณะเป็น 2 มิติ คือ สามารถมองเห็นตามแนวแกน X(ความกว้าง) กับ แกน Y(ความยาว) ซึ่งต่างจาก 3 มิติ ซึ่ง 3 มิติ นั้นจะมีแกน Z (ความหนาหรือความสูง) เพิ่มเข้ามา ทำให้เราเห็นเป็นรูปร่างที่ชัดเจนยิ่งขึ้นสำหรับประโยชน์ของงานกราฟิกกับสังคมปัจจุบันกราฟิกกับสังคมปัจจุบัน ปัจจุบันเทคโนโลยีได้วิวัฒนาการไปค่อนข้างรวดเร็ว การใช้ระบบการติดต่อสื่อสารที่มี ประสิทธิภาพมากขึ้น มีการกระจายของข้อมูลไปอย่างรวดเร็ว โดยอาจเป็นการกระจายข้อมูล จาก ที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง และการที่จะให้คนอีกซีกโลกหนึ่งเข้าใจความหมายของคนอีกซีกโลกหนึ่งนั้นเป็นเรื่องที่ไม่สามารถทำได้ง่ายนักเนื่องมาจากความแตกต่างกันทั้งทางด้านขนบธรรมเนียม ประเพณีวัฒนธรรม สภาพภูมิประเทศ สภาพดินฟ้าอากาศความเชื่อของแต่ละท้องถิ่น ดังนั้นการใช้งานกราฟิกที่ดีที่สามารถสื่อความหมายได้ชัดเจนถูกต้อง จะช่วยให้มนุษย์สามารถสื่อสารกันได้ เข้าใจกันได้ เกินจินตนาการร่วมกัน อีกทั้งยังเกิดทัศนคติที่ดีต่อกันด้วย หรือถึงขั้นคล้อยตามให้ปฏิบัติตามได้




หน่วยการเรียนรู้ที่2 เรื่องคอมพิวเตอร์การฟิกกับงานด้านการออกแบบ

คอมพิวเตอร์กราฟิกกับงานด้านการออกแบบ คอมพิวเตอร์ได้เข้ามามีบทบาทกับงานด้านการออกแบบในสาขาต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก เช่น งานด้านสถาปัตย์และการออกแบบภายในอาคาร การออกแบบรถยนต์ รวมถึงการออกแบบวงจรไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งโปรแกรมที่ใช้จะเป็นโปรแกรม 3 มิติ เพราะสามารถกำหนดสีและแสงเงาได้เหมือนจริงที่สุด อีกทั้งสามารถดูมุมมองต่าง ๆ ได้ทุกมุมมอง

หน่วยการเรียนรู้ที่3คอมพิวเตอร์การฟิกกับงานด้านโฆษณา

คอมพิวเตอร์กราฟิกกับงานด้านโฆษณา ปัจจุบันการโฆษณาสินค้าทางโทรทัศน์ ได้นำภาพกราฟิกเข้ามาช่วยในการโฆษณาสินค้าเพื่อเพิ่มความน่าสนใจมากขึ้น เช่น การทำหิมะตกที่กรุงเทพ ฯ การนำการ์ตูนมาประกอบการโฆษณาขนมเด็ก และการโฆษณาสินค้าด้วยภาพกราฟิกยังมีอยู่ทุกที่รอบตัวเรา ไม่ว่าจะเป็นตามป้ายรถเมล์ ข้างรถโดยสาร หน้าร้านค้าตามแหล่งชุมชนต่าง ๆ

หน่วยการเรียนรู้ที่4คอมพิวเตอร์การฟิกกับงานด้านการนำเสนอ

คอมพิวเตอร์กราฟิกกับงานด้านการนำเสนอ การนำเสนอข้อมูลต่าง ๆ เป็นการสื่อความหมายให้ผู้รับสารเข้าใจในสิ่งที่ผู้สื่อต้องการ และการสื่อสารที่ดีจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องใช้ภาพเข้ามาช่วยเพื่อเพิ่มความเข้าใจให้กับผู้รับสาร เช่น การสรุปยอดขาดสินค้าในแต่ละปีด้วยกราฟ หรือการอธิบายกระบวนการทำงานของบริษัทด้วยแผนภูมิ

วันอาทิตย์ที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2553

หน่วยการเรียนรู้ที่5 เรื่อง คอมพิวเตอร์กราฟฟริกกับงานด้านเว็บเพจ

คอมพิวเตอร์กราฟิกกับงานด้านเว็บเพจ ธุรกิจรับสร้างเว็บเพจให้กับบริษัทหรือหน่วยงานต่าง ๆ ได้นำคอมพิวเตอร์กราฟิกเข้ามาช่วยในการสร้างเว็บเพจ เพื่อให้เว็บเพจที่สร้างมีความสวยงามน่าใช้งานยิ่งขึ้น

หน่วยการเรียนรู้ที่6 เรี่องคอมพิวเติร์กราฟิกกับงานด้านธุรกิจ

คอมพิวเติร์กราฟิกกับงานด้านธุรกิจ

ปัจจุบันธุรกิจคอมพิวเตอร์กราฟิกที่ใช้ในการ retouching ภาพ ได้เปิดตัวขึ้นเป็นจำนวนมาก เพราะสามารถตอบสนองความต้องการของคนในการทำภาพจินตนาการได้เป็นอย่างดี เช่น การทำภาพผิวกายให้ขาวเนียนเหมือนดารา การทำภาพเก่าให้เป็นภาพใหม่ การทำภาพขาวดำเป็นภาพสี และการทำภาพคนแก่ให้ดูหนุ่มหรือสาวขึ้น เป็นต้น

หน่วยการเรียนรู้ที่7 การออกแบบและตกแต่งภาพ

การออกแบบและตกแต่งภาพ
1. เปิดไฟล์ภาพภาพคน ที่ต้องการปรับแต่งผิวให้เรียบเนียน แล้วคลิกขวาที่ Layer -> Duplicate Layer
























2. คลิกเครื่องมือ Edit in Quick Mask Mode ใน Tools Palatte หรือกด Q









3. เลือกเครื่องมือ Brush Tool ใน Tools Palatte แล้วเลือกขนาดของ Brush Tool ที่ Option Bar ด้านบน โดยเลือกขนาดประมาณ35 Soft (สามารถปรับขนาดของ Brush Tool ได้ตามต้องการ)













4. ใช้ Brush Tool ระบายไปบนส่วนผิวหน้าและผิวของบุคคลในภาพ เพื่อกำหนดพื้นที่ที่ทำ Mask สำหรับผิวหน้าส่วนที่เป็นขอบ ท่านสามารถเลือกขนาดของ Brush Toos ให้เล็กลงก่อน แล้วจึงมาระบายได้ พื้นที่ส่วนที่ระบายแล้วจะปรากฏเป็นสีแดง ดังภาพ

















5. คลิก Edit in Standard Mood ใน Tools Palatte หรือกด Q เพื่อกลับสู่โหมดปกติ จะเห็นเส้นปะแสดงการเลือกพื้นที่-ข้างนอกผิวหน้าที่ได้ทำการ Mask ไว้ ให้คลิกเมนู Select -> Inverse เพื่อสลับมาเลือกพื้นที่ส่วนใบหน้าและผิว











6. กำหนดค่า Feather ใน Option Bar ประมาณ 10 (หากใน Option Bar ไม่ปรากฏ ช่องให้ปรับค่า Feather ให้คลิกเลือกเครื่องมือ ก่อน)






7. คลิกเมนู Filter -> Blur -> Guassian Blur แล้วปรับค่า Radius ประมาณ 3 pixels (อาจปรับค่ามากหรือน้อยกว่าได้ สังเกตุความเหมาะสมของภาพที่ปรากฏในช่อง Preview) เมื่อปรับได้ตามต้องการแล้ว คลิกปุ่ม OK





















8. คลิกเมนู Select -> Deselect เพื่อกลับสู่ภาพปกติ จะได้ภาพที่ทำการปรับแต่งให้มีผิวเรียบเนียนเสร็จสมบูรณ์แล้ว ลองเปรียบทียบดูภาพก่อน และหลังการปรับแต่ง













9. สามารถปรับความเรียบเนียนของผิวได้หลายระดับ โดยปรับค่า Opacity ของ Layer "Background copy" ซึ่งเป็น Layer ที่ทำ Guassian Blur ไว้ ดังนี้














วันจันทร์ที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2553

หน่วยการเรียนรู้ที่8การสร่างภาพการ์ตูนเคลื่อนไหว

1. IDEA - ความคิด แนวคิด
ขั้นตอนแรกในการทำเลยคือ คิด คิดว่าจะทำเรื่องอะไร ทำยังไง จบยังไง น่าสนใจยังไง ขนาดที่จะทำ ขั้นตอนนี้ยังไม่ต้องสนใจเทคนิกในการสร้าง เพียงแค่ระดมความคิดต่างๆเอามารวมกัน แต่อาจจะไม่จำเป็นต้องเขียนทุกอย่าง เขียนแค่ตัว หลักๆ ใว้

2.1 STORY - เนื้อเรื่อง
หลังจากได้แนวความคิดตอนนี้ก็มาเขียนเนื้อเรื่อง โดยเอาแนวคิดหลักๆมาขยายความ ในการเขียนเนื้อเรื่องตอนนี้ก็เหมือนกับเขียนนิยาย คิอไม่ใช่มีแต่เนื้อเรื่อง ต้องมีบทพูดด้วยเช่นกัน ไล่เป็นฉากๆ บทๆ ไป ขั้นตอนนี้ เอกสารจะเป็น แค่ ตัวอัก`ษรเท่านั้น. เพิ่มเติม บ.อนิเมชั่นที่ญี่ปุ่น การนำการ์ตูนเอามาทำอนิเมชั่นเค้าก็เขียนบทขึ้นมาใหม่อีกรอบโดยมี เนื้อเรื่องในการ์ตูนเป็นพื้นฐาน. พอได้เนื้อเรื่องก็จะนำเอามาให้ทีมงานอ่านกันเพื่อแก้ไข ไม่ว่าจะเป็น คำพูด เนื้อเรื่อง ว่าเหมาะสมกับกลุ่มมั้ย ไม่ใช่สักแต่ว่าเขียนไป.

2.2 STORY BOARD - สตอรี่บอร์ด
นำเนื้อเรื่องที่ทำการเรียบเรียง มาให้ทีมงานอ่านกัน เพื่อเอาไปเขียนสตอรี่บอร์ด, คนที่เขียนสตอรี่บอร์ดไม่จำเป็นต้องมีแค่คนเดียว แบ่งงานเป็น ฉากๆไป. ขั้นตอนนี้นั้น คือการนำเอาเนื้อเรื่องมาวาดเป็นภาพ มาเรียงต่อกันเป็นฉากๆ แล้วเอามาแปะใว้บนที่บอร์ด(ถึงเรียกว่า สตอรี่บอร์ด). แล้วเอามาเขียนมาแก้กันเพิ่มมุมมองฉากใหน แก้มุมใหน ขั้นตอนนี้จะสำคัญเพราะมีผลสืบเนื่องถึงขั้นตอน วาด อนิเมชั่น ถ้าทำไม่ดี จะเป็นปัญหาอย่างมาก.

3 AUDIO and SOUND - เสียง
เมื่อเอาสตอรี่บอร์ดมาเรียงกันเป็นหนังอย่างหยาบๆ (หรือที่คนเรียกกันอย่างหรูว่า อนิเม-ทริก ความละเอียดตรงนี้ขึ้นอยู่กับตอนวาดสตอรี่บอร์ดว่าละเอียดขนาดใหน)แล้วเอามาอัดเสียง ไม่ว่าจะเสียงพาค์ย เสียงเอฟเฟค เสียงฉากหลัง ทำให้หมด. มันจะเป็นการง่ายมาก หากเราทำเสียงแล้ว มาวาดให้ตรงกับเสียง มากกว่า ทำเสียงให้ตรงกับภาพ.

4. ANIMATE - วาดรูปเคลื่อนใหว
เมื่อได้เสียงเราก็นำเสียงมาดูความยาว ตามช่วงเวลา เพื่อนำมาวาด. ขั้นตอนนี้ต้องอาศัยความ อดทน กับ ความมุ่งมั่น ในการทำเพราะเรื่องที่มีความยาว ครึ่งชั่วโมง ก็ต้องวาด 3000 รูปโดยประมาณ. ทั้งนี้ในการวาดในขั้นนี้ ต้องอาศัยการศึกษาและเทคนิกต่างๆ ไม่ว่าจะตัดเส้น ลงสี หรือ การเคลื่อใหวของสถานที่และตัวละคร.

5. EDIT - แก้ไข
หลังจากวาดอนิเมชั่นแล้ว ตัวหนังยังแยกกันเป็นส่วนๆ ในขั้นตอนนี้จะนำมาต่อรวมกัน เพื่อเป็นหนังใหญ่. แล้วต้องนำมาดูกันเพื่อ พิจารณาว่า ทั้งเนื้อเรื่องดูลงตัวมั้ย ต้อง ตัดฉากใหนออก. ในขั้นตอนนี้มีหนังอนิเมชั่นไม่น้อย ที่ต้องตัดออกไป 3-4 ฉาก เพื่อความลงตัว ให้เหมาะสม.

6. FINAL OUTPUT - การผลิดขั้นสุดท้าย
เมื่อ หนัง ทั้งเรื่อง เสร็จเป็นอันที่เรียบร้อยแล้วนั้น ก็สู่การนำไปแสดงหรือเผยแพร่. ตรงนี้ขึ้นอยู่กับผู้จัดทำว่าจะเอาไปทำอะไร(ที่คิดใว้ในขั้นตอนที่ 1 แนวคิด) ส่วนมากคือการนำงานไปเสนอตาม บ. ต่างๆเพื่อ นำไป เผยแพร่ หรือ นำไปผลิต ก็ตามแต่ นโยบายของผู้จัดทำ.

เพิ่มเติม
ความละอียด และ ขนาด นั้นเป็นสิ่งจำเป็นเพราะการนำไปใช้เพื่อทำอะไรนั้น ขนาดจะไม่เท่ากัน อย่าง ฉายในจอเงิน จอแก้ว ในเวป หรือ แม้แต่หน้าจอคอมพิวเตอร์.

ขั้นตอนทั้งหมดนี้อาจจะไม่สำคัญถึงขนาดคอขาดบาดตาย แต่ว่า ขั้นตอนทั้งหมดนั้นจะช่วยในการ ทำงานให้เร็วขึ้นเป็นอย่างมาก ขนาดที่ว่า เกือบครึ่งนึงของเวลาทั้งหมด เลยทีเดียว.

วันอาทิตย์ที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2553

หน่วยการเรียนรู้ที่9การสร้างป้ายข้อความ



เพื่อ ต้องการ สร้าง ป้าย ข้อความ ที่ ส่ง จาก ที่ อยู่ ต่าง ที่ คุณ เก็บ ไว้ ใน ไฟล์ Excel? นี่ เป็น ขั้น ตอน ตาม คู่มือ ขั้น ตอน ที่ ควร พิสูจน์ ง่าย ต่อ.

นี่ คือ สิ่ง ที่ คุณ ต้องการ:

ไฟล์ Excel ที่ มี อยู่ ใน นั้น

Microsoft Word 2007

1. นี้ สามารถ ใช้ ถ้า คุณ มี ที่ อยู่ เก็บ เป็น ไฟล์ Excel และ ต้อง ทำ ป้าย กำกับ ที่ ส่ง จาก ที่. บันทึก ไฟล์ Excel ไป ยัง ตำแหน่ง ที่ คุณ จะ สามารถ ค้นหา. ใน ไฟล์ Excel ของ คุณ คุณ ควร มี หัว ประเภท ที่ ด้าน บน (แถว ละ 1) เพื่อ ให้ Word จะ ทราบ ว่า จะ นำ สิ่ง ที่ เมื่อ คุณ เริ่ม ป้อน ข้อมูล ฉลาก. เช่น ส่วน หัว ของ คุณ อาจ อ่าน ชื่อ "นามสกุล" อยู่ "เมือง" ซิป State "ข้อมูล ที่ เกี่ยวข้อง ตาม นั้น. นี้ จะ สำคัญ ใน ภายหลัง. (หาก คุณ ไม่ ได้ มี Excel ไฟล์ และ ต้องการ พิมพ์ ที่ อยู่ แต่ละคุณ สามารถ ทำ อีก ใน ภายหลัง เมื่อ ฉัน อธิบาย วิธี การ ได้ รับ ที่ อยู่ ของ คุณ ลง ใน ราย ชื่อ ป้าย.)

2. เปิด Word แล้ว คลิก ที่ แท็ บ ด้าน บน ที่ คน อ่าน ส่ง จดหมาย. "
ใน แถบ เครื่องมือ ด้าน บน คลิก ที่ Start Mail รวม และ เมนู แบบ เลื่อน ลง จะ ปรากฏ. ป้าย คลิก.

3. หน้าต่าง ป้าย กำกับ ตัว เปิด. หาก คุณ ใช้ ประเภท ของ ป้าย ข้อความ อื่น เลือก ประเภท ที่ คุณ ใช้. มิ ฉะนั้น ยี่ห้อ ที่สุด (ยี่ห้อ ร้าน แม้) ป้าย กำกับ ที่ จะ ทำงาน ถ้า คุณ เลือก Avery บาท หนังสือ สำหรับ ผู้ ขาย ฉลาก. แล้ว เลือก สินค้า จำนวน (ด้าน ล่าง ฉลาก ผู้ ขาย). ฉัน จะ ทำงาน กับ 5,160. เหล่า นี้ ดูเหมือน จะ เป็น ประเภท มาตรฐาน งาม ของ ป้าย.

4. หน้า จะ ปรากฏ blank. ที่ ด้าน บน คลิก ที่ ผู้รับ เลือก และ จะ แสดง เมนู แบบ เลื่อน ลง. จาก นั้น คลิก รายการ ที่ มี อยู่.

5. เลือก หน้าต่าง ที่ มา ข้อมูล ขึ้น มา และ คุณ จะ ต้อง พบ ไฟล์ ของ คุณ ที่ นี่. เมื่อ คุณ พบ บันทึก Excel ไฟล์ เลือก และ เปิด คลิก. (ถ้า คุณ จะ พิมพ์ ที่ อยู่ ขณะ ที่ คุณ ทำ ป้าย ข้อความ ให้ เลือก ประเภท รายการ ใหม่ แทน. แล้ว กลับ มา เส้นทาง นี้ เมื่อ คุณ ทำ กับ ที่.)
หน้าต่าง เลือก ตาราง ที่ จะ เปิด. ได้ มี 3 ทาง เลือก มี เนื่องจาก Excel ทุก ไฟล์ โดย อัตโนมัติ เริ่ม ต้น ด้วย 3 แผ่น เป็น. เลือก ที่ หนึ่ง ที่ คุณ ต้องการ ซึ่ง มัก จะ Sheet1 นับ ว่า เป็น ครั้ง แรก หนึ่ง คน ส่วน ใหญ่ จะ เริ่ม พิมพ์ on. (หาก คุณ คุ้นเคย กับ Excel และ มี ชื่อ แผ่น แต่ละ แผ่น งาน เพิ่ม หรือ ลบ คุณ จำเป็น ต้อง รู้ ที่ แผ่น งาน ที่ คุณ กำลัง ข้อมูล จาก.) ที่ ด้าน ล่าง ให้ ตรวจ สอบ ว่า แถว แรก ของ ข้อมูล มี ส่วน หัว คอลัมน์ เป็น เช็ค. คลิก OK และ เอกสาร ที่ จะ อ่าน บันทึก ถัด ไป ก่อน.

6. จาก แถบ เครื่องมือ ด้าน บน ให้ คลิก ที่ ฟิลด์ Match. ด้าน ซ้าย ของ หน้าต่าง จะ มี ช่อง ข้อมูล (ชื่อ, ที่ อยู่, ฯลฯ) Word ควร จะ ตรง กับ ข้อมูล แล้ว แต่ ตรวจ สอบ และ ตรวจ สอบ ว่า ประเภท ของ พวก เขา เหมือน กัน กับ คุณ. ถ้า คุณ มี ข้อความ Excel ไฟล์ ของ คุณ เพียง แค่ อันดับ แรก คุณ ต้อง เลือก ที่ จาก เมนู แบบ เลื่อน ลง ที่ ด้าน ขวา ของ ชื่อ เพื่อ ที่ จะ รับ รู้ คำ นี้ เป็น ชื่อ สำหรับ ป้าย ข้อความ ของ คุณ. คลิก OK เมื่อ เสร็จ.

7. คลิก แทรก ผสาน ฟิลด์ แล้ว คลิก ชื่อ. กด แป้น เว้น วรรค หนึ่ง ครั้ง จาก นั้น ทำ เช่น เดียวกัน สำหรับ นามสกุล. กด เข้าไป แล้ว ทำ เช่น เดียวกัน เพื่อ ที่ อยู่ 1 กด แถบ พื้นที่ ที่ อยู่ 2 (ถ้า มี) กด เข้าไป แล้ว City พิมพ์ จุลภาค จาก นั้น กด แป้น เว้น วรรค และ ป้อน ST, กด แป้น เว้น วรรค และ ใส่ Zip. เมื่อ คุณ ทำ คุณ จะ มี เพียง หนึ่ง ป้าย ที่ มี ข้อมูล ทั้งหมด บน นี้. บาร์ และ เข้า สู่ พื้นที่ เพื่อ ให้ มี ที่ อยู่ จะ ปรากฏ ตาม ปกติ ไม่ บน ฉลาก ที่ อยู่.

8. เน้น เฉพาะ ฉลาก ที่ แล้ว คลิก ที่ วิธี การ เล ย์ เอา ต์ แท็ บ ที่ ด้าน บน. ไป ส่วน การ จัด ตำแหน่ง ใน แถบ เครื่องมือ และ คลิก ตาราง ศูนย์ เพื่อ ที่ จะ ศูนย์ สมบูรณ์ ป้าย จาก บน ด้าน ล่าง และ ด้าน.

9. คลิก ปรับปรุง ป้าย ข้อความ ที่ อยู่ ใน แถบ เครื่องมือ ด้าน บน และ จะ เพิ่ม ว่า รูป แบบ ป้าย แรก ที่ คน อื่น ๆ ทั้งหมด นอกจาก นั้น ยัง จะ อ่าน บันทึก ถัด ไป. ออก ที่ เดียว ก็ ต้อง มี.

10. ผลลัพธ์ ตัวอย่าง คลิก และ คุณ จะ พบ ข้อมูล จริง ชื่อ และ สิ่ง. หาก คุณ เลื่อน มัน ได้ กังวล สับสน แต่ dont, ป้าย ตั้ง อย่าง ถูก ต้อง.

11. คลิก ขวา บน ที่ เสร็จ สิ้น และ ผสาน และ เมนู แบบ เลื่อน ลง จะ ปรากฏ. เอกสาร เลือก Print และ คุณ จะ พิมพ์ ป้าย ข้อความ ของ คุณ. บันทึก แฟ้ม ถ้า คุณ ต้องการ แต่ ใส่ ไว้ ใน โฟลเดอร์ เดียวกัน กับ ไฟล์ Excel เดิม ที่ มี ข้อมูล ทั้งหมด ที่ อยู่ ใน นั้น เพื่อ ที่ คุณ จะ รู้ ไป กับ สิ่ง. เปลี่ยน Dont ลบ หรือ ย้าย ที่ ไฟล์ Excel หรือ ส่ง เคยชิน ป้าย สามารถ อ่าน ข้อมูล อีก ต่อ. ครั้ง ถัด ไป คุณ เปิด แฟ้ม ป้าย ข้อความ คุณ อาจ จะ ต้อง เลือก Excel ไฟล์ อีก ครั้ง เพื่อ Word สามารถ อ่าน ข้อมูล จาก มัน.